เมื่อปัญหาของโรคที่เกิดจากความเสื่อมของร่างกายคุกคามคุณ (เช่น : โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ, โรคเส้นเลือดในสมองตีบ, คลอเรสเตอรอลสูง, ความดันสูง, โรคไขมันเกาะตับ, โรคไขมันเกาะไต, ไขมันในหลอดเลือดสูง, โรคตับ, ตับอักเสบ, ไตอักเสบ, โรคหอบหืด, โรคลมชัก, โรค SLE, โรคไขข้อ, โรค Bechet, โรคผิวหนังอักเสบแพ้ง่าย, โรคไขข้อ, วัยทอง, ปวดประจำเดือน, มีถุงน้ำที่เต้านม รังไข่, มีบุตรยาก, อ้วน, โรคไทยรอยด์, อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า, ต่อมลูกหมากโต, โรคเบาหวาน, เอดส์ (AIDS) หรือ HIV, โรคพุ่มพวง หรือ โรคแพ้ภูมิตัวเอง, อัมพาต อัมพฤกษ์, โรคเก๊า, โรคสะเก็ดเงิน, โรคเรื้อนกวาง, โรคภูมิแพ้, Sex เสื่อม, หย่อนสมรรถภาพทางเพศ, เสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ ฯลฯ) เรามีคำตอบให้คุณ ว่าต้องทำอย่างไร จึงจะสามารถอยู่กับโรคเหล่านี้ได้อย่ามีความสุข

Note:
อาหารเสริมไม่ใช่ยารักษาโรค อาหารเสริมเพียงช่วยให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตอยู่กับโรคที่เป็นอยู่ได้อย่างมีความสุข และ มีสุขภาพแข็งแรง

.

.

วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556

รู้หรือไม่ น้ำหนัก 60 กก. ไม่จำเป็นต้องอ้วนเสมอไป


จากภาพบน 3 ภาพจะเห็นได้ว่าน้ำหนัก 56 กิโลกรัม มีสภาพที่ดูแล้วจะเห็นว่ามีไขมันส่วนเกินอยู่มากมาย แต่ในขณะที่น้ำหนัก 62.5 กิโลกรัม กลับดูหุ่นฟิต สวยงาม และ ไม่มีไขมันส่วนเกินใดๆเลย

ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น?

ก่อนอื่นเราต้องมาทำความเข้าใจกันก่อนเรื่อง ไขมัน และ กล้ามเนื้อ ว่า 2 สิ่งนี้ต่างกันอย่างไร?

ไขมัน จะมีมวลที่มากกว่ากล้ามเนื้อในน้ำหนักที่เท่ากัน
ดังภาพข้างล่างที่เป็นตาชั่ง ซึ่งจะเปรียบเทียบระหว่างไขมัน และ กล้ามเนื้อในน้ำหนักที่เท่ากัน (จากภาพไขมันมีสีเหลือง ส่วนเนื้อแดงมีสีแดงคล้ำ)

ดังนั้นคนที่มีน้ำหนักเยอะ (ตามภาพคือ 62.5 kg) เป็นภาพของคนที่ร่างกายปราศจากไขมันส่วนเกิน และ มีกล้ามเนื้ออยู่มาก ในขณะที่ตอนที่มีน้ำหนักน้อยกว่า (56 kg) ร่างกายเต็มไปด้วยไขมันส่วนเกิน

สำหรับผู้ที่กำลังลดน้ำหนักทั้งหลาย อยากให้ทุกๆ คนเวลาลดน้ำหนักอย่าสนใจแต่ตัวเลขน้ำหนักบนตาชั่งอย่างเดียว เพราะตัวเลขบนตาชั่งไม่ได้หมายความว่าจะทำให้คุณมีรูปร่างที่ดีเสมอไป

คุณต้องสนใจปริมาณน้ำหนักไขมัน และ ปริมาณกล้ามเนื้อในร่างกายด้วย

ที่สำคัญ จำไว้เสมอว่า ถ้าคุณมีกล้ามเนื้อเยอะร่างกายคุณก็จะเผาผลาญพลังงานได้ดี โอกาศที่จะทำให้คุณกลับมาอ้วนอีกครั้งก็น้อยลง

1 ความคิดเห็น:

.

.