ไลโคปีน (Lycopene) คือ แคโรทีนอยด์ชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญ ของสีแดงของมะเขือเทศ และแตงโม ที่มีโครงสร้างโมเลกุล ที่ยาวกว่าแคโรทีนอยด์ชนิดอื่นๆทำให้ ไลโคปีน เป็นแคโรทีนอยด์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด มีฤทธิ์เป็นสารต้านอนุมูล อิสระซึ่งจะช่วยลดความผิดปกติ และความเสื่อมของเซลล์ อันเนื่องมาจากการทำลายของอนุมูลอิสระ
มีผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่า ปริมาณไลโคปีนในร่างกายจะลดลงเมื่อ อายุมากขึ้น และพบว่าปริมาณสารไลโคปีนในร่างกาย มีความสัมพันธ์แบบผกผัน กับอัตราการเกิด โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก ผู้ป่วยที่มีปริมาณสารไลโคปีนในร่างกายต่ำ จะมีความเสี่ยงต่อ โรคมะเร็ง ต่อมลูกหมากเพิ่มขี้น
การรับประทานมะเขือเทศในอัตราสูง จะช่วยลดอัตราการเป็นโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก ทุกประเภท ได้ถึง 35% และลดความรุนแรงของโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก 53%
สารสกัดจากมะเขือเทศ ที่ประกอบด้วยไลโคปีน 30 มิลลิกรัมต่อวัน จะช่วยลดการเจริญเติบโต ของโรคมะเร็งต่อมลูกหมากในคนไข้ ภายหลังจากการรักษา โรคมาแล้ว 3 สัปดาห์
ความสำคัญของไลโคปีน
ไลโคปีน อาจจะมีส่วนสำคัญในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง เต้านมและมะเร็งปากมดลูก โดยจะลดการเกิดเนื้องอก และยับยั้งการพัฒนา วงจรชีวิตของเซลล์ในช่วงต้น ของการเกิดเซลล์มะเร็ง (ระยะ G1) ไลโคปีนอาจช่วยป้องกันความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ
บุคคลที่มีสารสกัดพลาสมาไลโคปีน ที่สูงที่สุดจะมี เปอร์เซ็นต์ของการเกิดการหนาตัว ของหลอดเลือด IMT (intima-mediated thickness) ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ของโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด ระยะเริ่มต้นได้ต่ำสุด ถึง 90%
ดังนั้น การได้รับไลโคปีนในปริมาณที่สูงอาจช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเป็นโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
การรับประทานไลโคปีน สามารถลดอัตราเสี่ยงของการ เป็นกล้ามเนื้อหัวใจอุดตันต่ำกว่า 60%
สำหรับบุคคลที่ มีสารสกัดไลโคปีนสูงที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับ ผู้ที่มีสารสกัดไลโคปีนต่ำสุด ไลโคปีนอาจจะลดความรุนแรง ของการเผาไหม้ของผิวหนังจากแสงอาทิตย์
บุคคลที่รับประทานมะเขือเทศบด 40 กรัมต่อวัน ได้รับสารไลโคปีน 16 กรัมต่อวัน จะมีอัตราของอาการ เผาไหม้ของผิวหนังจากแสงอาทิตย์ลดลง 40% หลัง จากรับประทานมะเขือเทศติดต่อกันนาน 10 สัปดาห์
มีผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่า ปริมาณไลโคปีนในร่างกายจะลดลงเมื่อ อายุมากขึ้น และพบว่าปริมาณสารไลโคปีนในร่างกาย มีความสัมพันธ์แบบผกผัน กับอัตราการเกิด โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก ผู้ป่วยที่มีปริมาณสารไลโคปีนในร่างกายต่ำ จะมีความเสี่ยงต่อ โรคมะเร็ง ต่อมลูกหมากเพิ่มขี้น
*ไลโคปีนช่วยลดอัตราเสี่ยงการเป็นมะเร็งหลายชนิด โดยเฉพาะมะเร็งต่อมลูกหมากไลโคปีน มีมากในมะเขือเทศ จากการทดสอบ โดยให้ ผู้เข้ารับการทดสอบรับประทานมะเขือเทศ ในปริมาณสูงที่สุด 10 ครั้งต่อสัปดาห์ มีอัตราเสี่ยง ในการเป็นโรคมะเร็งต่อมลูกหมากต่ำกว่า เมื่อเปรียบ เทียบกับผู้ที่รับประทานน้อยกว่า 1.5 ครั้งต่อสัปดาห์
การรับประทานมะเขือเทศในอัตราสูง จะช่วยลดอัตราการเป็นโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก ทุกประเภท ได้ถึง 35% และลดความรุนแรงของโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก 53%
สารสกัดจากมะเขือเทศ ที่ประกอบด้วยไลโคปีน 30 มิลลิกรัมต่อวัน จะช่วยลดการเจริญเติบโต ของโรคมะเร็งต่อมลูกหมากในคนไข้ ภายหลังจากการรักษา โรคมาแล้ว 3 สัปดาห์
ความสำคัญของไลโคปีน
ไลโคปีน อาจจะมีส่วนสำคัญในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง เต้านมและมะเร็งปากมดลูก โดยจะลดการเกิดเนื้องอก และยับยั้งการพัฒนา วงจรชีวิตของเซลล์ในช่วงต้น ของการเกิดเซลล์มะเร็ง (ระยะ G1) ไลโคปีนอาจช่วยป้องกันความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ
บุคคลที่มีสารสกัดพลาสมาไลโคปีน ที่สูงที่สุดจะมี เปอร์เซ็นต์ของการเกิดการหนาตัว ของหลอดเลือด IMT (intima-mediated thickness) ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ของโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด ระยะเริ่มต้นได้ต่ำสุด ถึง 90%
ดังนั้น การได้รับไลโคปีนในปริมาณที่สูงอาจช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเป็นโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
การรับประทานไลโคปีน สามารถลดอัตราเสี่ยงของการ เป็นกล้ามเนื้อหัวใจอุดตันต่ำกว่า 60%
สำหรับบุคคลที่ มีสารสกัดไลโคปีนสูงที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับ ผู้ที่มีสารสกัดไลโคปีนต่ำสุด ไลโคปีนอาจจะลดความรุนแรง ของการเผาไหม้ของผิวหนังจากแสงอาทิตย์
บุคคลที่รับประทานมะเขือเทศบด 40 กรัมต่อวัน ได้รับสารไลโคปีน 16 กรัมต่อวัน จะมีอัตราของอาการ เผาไหม้ของผิวหนังจากแสงอาทิตย์ลดลง 40% หลัง จากรับประทานมะเขือเทศติดต่อกันนาน 10 สัปดาห์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น