เมื่อปัญหาของโรคที่เกิดจากความเสื่อมของร่างกายคุกคามคุณ (เช่น : โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ, โรคเส้นเลือดในสมองตีบ, คลอเรสเตอรอลสูง, ความดันสูง, โรคไขมันเกาะตับ, โรคไขมันเกาะไต, ไขมันในหลอดเลือดสูง, โรคตับ, ตับอักเสบ, ไตอักเสบ, โรคหอบหืด, โรคลมชัก, โรค SLE, โรคไขข้อ, โรค Bechet, โรคผิวหนังอักเสบแพ้ง่าย, โรคไขข้อ, วัยทอง, ปวดประจำเดือน, มีถุงน้ำที่เต้านม รังไข่, มีบุตรยาก, อ้วน, โรคไทยรอยด์, อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า, ต่อมลูกหมากโต, โรคเบาหวาน, เอดส์ (AIDS) หรือ HIV, โรคพุ่มพวง หรือ โรคแพ้ภูมิตัวเอง, อัมพาต อัมพฤกษ์, โรคเก๊า, โรคสะเก็ดเงิน, โรคเรื้อนกวาง, โรคภูมิแพ้, Sex เสื่อม, หย่อนสมรรถภาพทางเพศ, เสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ ฯลฯ) เรามีคำตอบให้คุณ ว่าต้องทำอย่างไร จึงจะสามารถอยู่กับโรคเหล่านี้ได้อย่ามีความสุข

Note:
อาหารเสริมไม่ใช่ยารักษาโรค อาหารเสริมเพียงช่วยให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตอยู่กับโรคที่เป็นอยู่ได้อย่างมีความสุข และ มีสุขภาพแข็งแรง

.

.

วันพุธที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

สารพฤกษเคมี หรือ ไฟโตนิวเทรียนท์ (Phytochemical หรือ Phytonutrients) คืออะไร?

สารพฤกษเคมี หรือ ไฟโตนิวเทรียนท์ (อังกฤษ: Phytochemical หรือ Phytonutrients) หมายถึง สารเคมีที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ ที่พบเฉพาะในพืช สารกลุ่มนี้อาจเป็นสารที่ทำให้พืชผักชนิดนั้นๆ มีสี กลิ่น หรือ รสชาติที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว สารพฤกษเคมีเหล่านี้ หลายชนิดมีฤทธิ์ต่อต้าน หรือ ป้องกันโรคบางชนิดและ โรคสำคัญ ที่มักจะกล่าวกันว่าสารกลุ่มนี้ช่วยป้องกันได้คือ “โรคมะเร็ง” กลไกการทำงานของสารพฤกษเคมี เมื่อเข้าสู่ร่างกาย อาจเป็นไปโดยการช่วยให้ เอ็นไซม์บางกลุ่มทำงานได้ดีขึ้น เอ็นไซม์บางชนิด ทำหน้าที่ทำลายสารก่อมะเร็ง ที่เข้าสู่ร่างกาย มีผลทำให้สารก่อมะเร็งหมดฤทธิ์ ซึ่งปัจจุบันพบสารพฤกษเคมีแล้ว มากกว่า 15,000 ชนิด

นักวิทยาศาสตร์พบว่า สารพฤกษเคมีสร้างประโยชน์ด้วยกลไก การออกฤทธิ์ในรูปแบบต่างๆ ดังนี้
  • ต้านออกซิเดชั่น ทำลายฤทธิ์ของอนุมูลอิสระ
  • ลดความเสียหายที่เกิดขึ้นกับดีเอ็นเอ เป็นกลไกสำคัญ ที่ทำให้สารพฤกษเคมีลดการเกิดโรคมะเร็งได้
  • เพิ่มภูมิต้านทานโรค
  • ควบคุมการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน
งานวิจัยจำนวนมาก แนะนำว่าการผสมผสาน ของสารต้านอนุมูลอิสระที่พบในผัก และ ผลไม้ชนิดต่างๆ หลากชนิดจะให้คุณภาพ การต้านอนุมูลอิสระที่ดีกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับการได้รับสารต้านอนุมูลอิสระ จากแหล่งอาหารเพียงแหล่งเดียว

ผักและผลไม้ยังเป็นแหล่งที่ดีที่สุดสำหรับสารต้านอนุมูลอิสระ คนไทยส่วนมากรับประทานผักและผลไม้ได้ไม่เพียงพอในแต่ละวัน จึงอาจจะมีสารต้านอนุมูลอิสระในระดับต่ำ การบริโภคผักและผลไม้ในปริมาณที่เหมาะสมต่อวัน จะช่วยให้ประสิทธิภาพของสารต้านอนุมูลอิสระเพียงพอในการลดความเสี่ยงต่อการ เกิดโรคต่างๆ ได้

ประเภทของสารพฤกษเคมีที่สำคัญ
  1. แคโรทีนอยด์ (Carotenoids)
  2. กรด อัลฟาไลโปอิค (Alpha Lipoic Acid)
  3. ไลโคปีน (Lycopene)
  4. กลูโคไซโนเลท (Glucosinolate) / ไอโซโธโอไซยาเนท (Isothiocynate)
  5. โพลีฟินอล (Polyphenols) : ฟลาโวนอยด์ (Flavonoids) , แอนโธไซยานินส์ (Anthocyanins) , ไบโอฟลาโวนอยด์ (Bioflavonoids) , โพรแอนโธไซยานิน (Proanthocyanidins)
  6. ไฟโตเอสโตรเจน (Phytoestrogens)
  7. เฟนโนลิก (Phenolics) / สารประกอบซีสติก (Cystic Compound)
  8. ซาโปนินส์ (Saponins)
  9. ไฟโตสเตอรอล (Phytosterol)
  10. ซัลไฟด์ (Sulfide) และไธออล (Thiols)
  11. เฮสเพอริดิน (Hesperidin)
  12. กรดเอลลาจิก (Ellagic Acid)
  13. สารลูทีน (Lutein)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

.

.